กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ
เรื่อง แสงสว่างชี้ทางสร้างสุขภาพ
หน่วยงาน กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพวัยสูงอายุ
คณะผู้จัดทำ
1. นางนาฎสินี ชัยแก้ว นักวิชาการสาธารณสุขช านาญการ
2. นางสาวพรทิพย์ สิงห์ชัย พยาบาลวิชาชีพช านาญการ
3. นางณัฐพร ม่วงแดง นักวิชาการสาธารณ สุขปฏิบัติการ
4. นางสาวอนุช สีนารอด นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
5. นางสาวอัชฌามาศ ปานแดง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ชื่อผู้ประสาน นางสาวอนุช สีนารอด เบอร์โทร 101 อีเมล anuch.sina@gmail.com
เป้าหมายและวัตถุประสงค์
1.เพื่อปรับปรุงหลักสูตรพระคิลานุปัฏฐาก (พระอาสาสมัครส่งเสริมสุขภาพประจ าวัด-อสว.)ให้เข้ากับบริบท
เขตสุขภาพที่ 3
2.เพื่อสร้างและพัฒนาพระคิลานุปัฏฐาก (พระอาสาสมัครส่งเสริมสุขภาพประจ าวัด-อสว.)ให้มีความรู้
ความเข้าใจ มีทักษะในการดูแลสุขภาพอนามัยตามหลักพระธรรมวินัยและให้ค าแนะน า ดูแลพระสงฆ์ในวัด
และชุมชนได้
กระบวนการในการจัดการความรู้ และเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการความรู้
การบ่งชี้ความรู้ ( Knowledge Identification)
จากกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี มุ่งหวังพัฒนาให้ประเทศ
ไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง น าไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมีความสุข
สถาบันพระพุทธศาสนาอยู่คู่สังคมไทยมาอย่างช้านาน คน
ไทยร้อยละ ๙๕ นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งใช้หลักการทาง
พระพุทธศาสนาเป็นแนวทางการด าเนินชีวิต จนกลายเป็น
รากฐานทางประเพณี และวัฒนธรรม อันเป็นเอกลักษณ์
มรดกของชาติไทย
พระสงฆ์เป็นผู้มีความส าคัญ ในการสืบทอดพระพุทธศาสนา พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
และการพัฒนาสังคม ท้องถิ่น ชุมชน อันเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับชุมชน ในเรื่องการดูแลสุขภาพตนเอง
สิ่งแวดล้อมภายในวัดของพระสงฆ์ พระสงฆ์มีปัญหาทางสุขภาพ โดยเฉพาะป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดและภาวะไขมันในเลือดสูง ซึ่งสาเหตุส าคัญส่วนหนึ่งมา
จากอาหารที่ใส่บาตรท าบุญของประชาชน ที่ยังขาดความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลเสียต่อการเจ็บป่วย
ของพระสงฆ์ นอกจากนี้พระสงฆ์ยังมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสิ่งที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรค เช่น การสูบบุหรี่ ดื่ม
กาแฟ ดื่มเครื่องดื่มชูกาลัง และขาดการออกกาลังกายที่เหมาะสม หากไม่ได้รับการแก้ไขจะกลายเป็น
ผู้ป่วยรายใหม่
ปัญหาสุขภาพของพระสงฆ์ ได้มีหน่วยงานต่างๆ ด าเนินการแก้ไขปัญหาอยู่แล้ว แต่เป็นเพียง
โครงการเฉพาะกิจที่ขาดระบบกลไกการด าเนินงาน ขาดการบูรณาการกับภาคส่วนต่างๆ อย่างจริงจังและมี
การด าเนินงานเฉพาะในบางพื้นที่เท่านั้น และแม้ว่าพระสงฆ์จะมีหลักประกันสุขภาพ แต่เมื่ออาพาธยังมีปัญหา
ในการเข้าถึงบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุข รวมทั้งขาดการดูแลสุขภาพพระสงฆ์อย่างต่อเนื่อง
และครบวงจร ดังนั้นหากไม่มีการพัฒนากระบวนการส่งเสริมและการดูแลพระสงฆ์ในด้านสุขภาพจะท าให้
กลไกในการสืบทอดพระพุทธศาสนา และการพัฒนาความดีงามด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่ส าคัญยิ่งของ
ประเทศไทยก็จะอ่อนแอลง
จากสถานการณ์สุขภาพพระสงฆ์ดังกล่าว รัฐบาลได้ให้ความส าคัญกับการดูแลสุขภาพพระสงฆ์
เป็นอย่างมาก เร่งรัดการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพระสงฆ์แห่งชาติ พ.ศ.2560 ซึ่งเป็นกรอบและ
แนวทางสร้างสุขภาวะให้กับพระสงฆ์ทั่วประเทศที่มีอยู่รวมกว่า 300,000 รูป ในขณะนี้ กรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักของประเทศในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและระบบอนามัย
สิ่งแวดล้อมเพื่อประชาชนสุขภาพดี จึงได้ร่วมมือกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนขับเคลื่อนด าเนินงาน
ส่งเสริมสุขภาพพระสงฆ์ ผ่าน โดยเครื่องมือส าคัญ 2 โครงการ ได้แก่ 1.วัดส่งเสริมสุขภาพ 2.พัฒนา
ศักยภาพพระสงฆ์แกนน า เป็น พระคิลานุปัฏฐาก (พระอาสาสมัครส่งเสริมสุขภาพประจ าวัด (อสว.)) ซึ่ง
หมายถึง พระผู ปฏิบัติดูแลพระสงฆ อาพาธ รวมทั้ง การสร างเสริมสุขภาพ การป องกันโรค การ
ควบคุมโรค และการจัดการป จจัยที่คุกคามสุขภาพของพระสงฆ์( ตามธรรมนูญพระสงฆ์ ปี 2560) ให้
ครอบคลุมทุกพื้นท
km-สูงอายุ62.pdf |
ขนาดไฟล์ 1MB
ดาวน์โหลด 0 ครั้ง
|
ดาวน์โหลด
แจ้งไฟล์เสีย |