กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ
ชื่อเรื่อง ผู?นําสุขภาพ...ทราบแล?วเปลี่ยน
(การพัฒนาแนวทางปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทํางานของผู?นําสุขภาพ ในชุมชนเขตสุขภาพที่ 3)
หัวหน?าโครงการ นางณัฐนันท? วงษ?มามี
สมาชิกกลุ?ม 1. COP วัยทํางาน ประกอบด?วย ศูนย?อนามัยที่3 (กลุ?มพัฒนาการส?งเสริมสุขภาพวัยทํางาน, งาน
ส?งเสริมสุขภาพ, งานวัยทํางาน, งานให?การปรึกษา, กลุ?มงานส?งเสริมทันตสุขภาพ) ผู?รับผิดชอบงานส?งเสริม
สุขภาพวัยทํางานของ สสจ., สสอ.,รพสต. ในพื้นที่ 5 แห?งของเขตสุขภาพที่ 3
2. COP ผู?นําสุขภาพ ในชุมชนเขตสุขภาพที่ 3
การบ?งชี้ความรู?
องค?การอนามัยโลก (WHO, 2005) ระบุว?าในป? พ.ศ. 2548 ทั่วโลกมีผู?เสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง 35 ล?าน
คน ซึ่งเป?น 2 เท?าของผู?เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อทั้งหมด และมีแนวโน?มเพิ่มขึ้นร?อยละ 17 ในป? พ.ศ. 2558
โดยเฉพาะโรคอ?วนเป?นโรคไม?ติดต?อเรื้อรังที่ได?รับอิทธิพลจากการใช?วิถีชีวิตที่ไม?เหมาะสม ได?แก? บริโภคอาหาร
ที่มีพลังงานเกิน ทานผักผลไม?น?อย ขาดการออกกําลังกาย สูบบุหรี่ ดื่มเหล?า และความเครียด (WHO, 1995:
1- 45) เป?นป?ญหาสําคัญที่ส?งผลต?อภาวะสุขภาพของคนทั่วโลก ภาวะอ?วนเป?นป?จจัยหลักที่นําไปสู?การเกิดโรค
เรื้อรังที่ส?งผลต?อชีวิต เช?น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคมะเร็ง โรคข?อและเส?น
เอ็น และโรคหลอดเลือดแข็งและอุดตัน ล?วนเป?นภาวะที่มีผลต?ออัตราการตายโดยรวม (Eugene & Bcisaubin,
1984: 794 - 797) สําหรับประเทศไทย จากการสํารวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของสํานักสถิติแห?งชาติในป?
พ.ศ. 2548 และ 2552 พบว?าวัยทํางานมีพฤติกรรมการทานอาหารครบ 3 มื้อน?อยกว?ากลุ?มวัยอื่น มีเพียง 1 ใน
5 เท?านั้นที่ออกกําลังกาย และสถิติป?พ.ศ. 2559 ของสํานักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว?างประเทศ พบว?า
ความชุกของภาวะอ?วนในประชากรอายุตั้งแต? 18 ป? ขึ้นไป เพิ่มขึ้นจากร?อยละ 34.7 เป?นร?อยละ 37.5 และ
ความชุกของโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร?อยละ 6.9 เป?นร?อยละ 8.9 จะเห็นว?าประเทศไทยมีภาวะอ?วนเพิ่มขึ้น
และมีพฤติกรรมสะสมความเสี่ยงต?อการเป?นโรคในกลุ?มไม?ติดต?อมากขึ้น
เขตสุขภาพที่ 3 ร?วมกันแก?ไขป?ญหาสุขภาพวัยทํางาน โดยพัฒนาระบบบริการในโรงพยาบาล ให?มีคลินิก
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แต?พบป?ญหาว?าผู?รับบริการมีน?อย เนื่องจากสถานที่บริการอยู?ไกลจากชุมชน
ไม?สะดวกในการเดินทางมารับบริการ และเป?ดบริการในเวลาราชการเท?านั้น ไม?สามารถให?การปรึกษาตาม
ความต?องการของผู?รับบริการได?ตลอดเวลา
ดังนั้นกลุ?มพัฒนาการส?งเสริมสุขภาพวัยทํางาน ศูนย?อนามัยที่ 3 จึงต?องการ42พัฒนาแนวทางปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมสุขภาพวัยทํางาน จากการให?บริการในโรงพยาบาล เป?นการดูแลโดยชุมชนเพื่อชุมชน โดยยึดผู?นํา
สุขภาพเป?นศูนย?กลาง หยุดยั้งพฤติกรรมที่ไม?พึงประสงค? และส?งเสริมให?เกิดพฤติกรรมใหม?ที่พึงประสงค?เข?ามา
ทดแทน ด?วยกระบวนการเรียนรู?แบบมีส?วนร?วม และกระบวนการกลุ?ม ซึ่งจะช?วยให?เกิดความร?วมมือร?วมใจใน
การปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพที่กําหนดไว? รวมทั้งสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู?ประสบการณ?ซึ่งกันและกัน
ส?งเสริมให?รับฟ?งความคิดเห็นของผู?อื่น ช?วยเหลือซึ่งกันและกันในการแก?ป?ญหา ซึ่งจะช?วยเสริมสร?างความมั่นใจ
และนําไปสู?การปฏิบัติในชีวิตจริง ข?อมูลที่ได?จากการจัดการความรู?ครั้งนี้ จะทําให?ทราบรูปแบบหรือวิธีการที่
เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทํางาน ของผู?นําสุขภาพในชุมชน ให?กับกระทรวงสาธารณสุข
และหน?วยงานที่เกี่ยวข?องไปกําหนดนโยบาย และแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทํางานของ
คนไทยต?อไป
วัตถุประสงค?การจัดการความรู?
เพื่อพัฒนาแนวทางปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพวัยทํางานของผู?นําสุขภาพ ในชุมชนเขตสุขภาพที่ 3
กลุ่มวัยทำงาน60.pdf |
ขนาดไฟล์ 737KB
ดาวน์โหลด 0 ครั้ง
|
ดาวน์โหลด
แจ้งไฟล์เสีย |