กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ
ื่ชื่อเรื่อง การพัฒนากระบวนการวัดอุณหภูมิกายทารกแรกเกิดโดยใช้ผ้ากระชับจับเวลาวัดไข้
หัวหน้าโครงการ คุณบุษรา ใจแสน
สมาชิกกลุ่ม
1.นางโสพิศ | โลหะวณิชย์ | |
2.นางสุริยา | เครนส์ | |
3.นางนาตยา | พิรุณโปรย | |
4..น.ส.วิไลวรรณ | สุรารักษ์ | |
5..นางวันวิสา | ฤทธิ์ บํารุง | |
6.น.ส.กิจจาณัฐ | ไพรเผือก | |
7.นางพรทิพย์ | สิทธิชนาสุทธิ์ | |
8.น.ส.วิยดารัตน์ | ชาญชัยชูรัตน์ | |
9.นางแน่งน้อย | สายชาลี | |
10.นางรัตนา | ประกอบไวทยกิจ | |
11.นางเกศกญญาณี ั | สุขพร้อม | |
12.น.ส.ณัฐนันท์ | มาตขาว | |
Notetaker | 1.นางบุรฑริกา | สุขเกษม |
2.น.ส.ชุลีพร | วิมลสิทธิพงศ์ |
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้การวัดอุณหภูมิทารกได้ค่าที่แม่นยํา ลดความคลาดเคลื่อนระหวา่ งหน่วยงาน
2. เพื่อให้เกิดความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ในการลดภาระงาน จากการใช้ ผ้ากระชับจับเวลาวัดไข้
การบ่งชี้ความรู้
อุณหภูมิกายปกติในทารกแรกเกิดที่องค์การอนามัยโลกกาหนด ํ คือ 36.5-37.5 องศาเซลเซียส ไม่วาจะวัด ่
โดยวิธีใด ถ้าระยะเวลาและวิธีการวัดถูกต้อง ก็จะได้อุณหภูมิที่เป็นตัวแทนของอุณหภูมิในร่างกายของทารก หาก
ไม่มีการควบคุมอุณหภูมิกายทารกให้อยูในเกณฑ์ปกติ จะทําให้อัตราการเก ่ ิดโรค(morbility) และอัตราตาย
(mortality)ในทารกเพิ่มขึ้น การป้องกนจึงเป็นสิ ั ่งสําคัญที่สุดเพราะภาวะอุณหภูมิกายตํ่าหรือสูงกวาปกติจะซํ ่ ้าทารก
ที่ป่วยด้วยโรคใดโรคหนึ่งอยูแล้วทําให้มีอาการเจ็บป่วยที่รุนแรงเพิ ่ ่มขึ้น มีผลอันตรายตามมา ก่อนย้ายและแรกรับ
ทารกแรกเกิดระหวางตึกจะต้องมีกา ่ รวัดอุณหภูมิกายทารก จากการศึกษาข้อมูลย้อนหลัง ความแตกต่างของ
อุณหภูมิกายทารกก่อนใช้ปรอทแกวระหว ้ างห้องคลอดก ่ บตึกหลังคลอดมีค ั ่าเฉลี่ยเท่ากบ 0.22 องศาเซลเซียส ั โดย
ส่วนมากความแตกต่างของอุณหภูมิใกล้เคียงกนั แต่ความแตกต่างของอุณหภูมิ ระหวางห้องคลอดก ่ บตึกทารกแรก ั
เกิดมีค่าเฉลี่ยเท่ากบั 0.34 องศาเซลเซียส และความแตกต่างของอุณหภูมิค่อนข้างหลากหลาย มีตั้งแต่ค่าที่เท่ากนั
และค่าที่ต่างกนมากถึง 1.3 ั องศาเซลเซียส ดังนั้นจึงมีการหาข้อมูลโดยสอบถามจากพี่เลี้ยงเด็กที่นําส่งทารกเกี่ยวกบั
วิธีการวัดอุณหภูมิทารก พบวา่ ปรอทที่ใช้ในการวัดอุณหภูมิทารกของห้องคลอดและตึกหลังคลอดใช้แบบดิจิตอล
ส่วนตึกทารกแรกเกิดใช้ปรอทแกว้ ซึ่งอาจทําให้ค่าอุณหภูมิที่วัดได้ระหวางห้องคลอดก ่ บตึกทาร ั กแรกเกิดมีค่า
แตกต่างกนมาก ั กวาค ่ ่าอุณหภูมิที่วัดได้ระหวางห้องคลอดก ่ บตึกหลังคลอด ั จากการค้นคว้าวิธีการวัดอุณหภูมิกาย
ทารกแรกเกิด วิธีที่ดีและเหมาะสมที่สุดคือวัดทางรักแร้ ในทารกที่คลอดครบกาหนด ํ วัดนาน 8 นาที ส่วนทารกเกิด
ก่อนกาหนดวัดนาน 5 นาที ด้วยปรอทแก ํ ว้ และตําแหน่งในการวัดอุณหภูมิจะต้องให้กระเปาะของปรอทอยูตรง ่
กลางรักแร้ จึงจะได้ค่าที่คงที่ งานห้องคลอดจึงปรับวิธีวัดอุณหภูมิทารกก่อนส่งตึกทารกแรกเกิด จากปรอทดิจิตอล
มาเป็ นปรอทแกวเพื่อความแม ้ ่นยํา และลดความคลาดเคลื่อนระหวางหน ่ ่วยงาน และเนื่องด้วยภาระงานของ
เจ้าหน้าที่ห้องคลอดนอกจากจะดูแลหญิงตั้งครรภ์ มารดาและทารกแล้วยังมีหน้าที่ในการให้คําปรึกษาทางโทรศัพท์
และตรวจคัดกรองผู้ป่ วยนอกเวลาราชการพร้อมทั้งการปฏิบัติหน้าที่ประจําในขณะขึ้นปฏิบัติงาน จึงเป็ นที่มาของ
การพัฒนากระบวนการวัดอุณหภูมิกายทารกแรกเกิดโดยใช้ผ้ากระชับจับเวลาวัดไข
ห้องคลอด59.compressed.pdf |
ขนาดไฟล์ 354KB
ดาวน์โหลด 0 ครั้ง
|
ดาวน์โหลด
แจ้งไฟล์เสีย |