กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ในการประเมินทารกที่มีภาวะลิ้นติด (Tongue tie)
หน่วยงาน สุตินรีเวช
ผู้จัดทำ
1.นางสาววิราวรรณ์ วัชรขจร ที่ปรึกษา
2. นางสาวภัทราพร ทองสังข? หัวหน?าโครงการ
3. นางสาวสาริศา สืบจากดี
4. นางรัชนี วีระวงศ?
5. นางจันทิรา สุโพธิ์
6. นางสุนธะ ทองเอี่ยม
7. นางสาวเรณู สุขแจ?ม
8. นางศัสยมน ปรางค?โท?
9. นางนลัทพร พรมพินิจ
10. นางสาววาสนา เงินม?วง
11. นางสาวจิราพร วงศ?นิคม
12. นางสาวรมิตา บุญยัง
13. นางสาวภุมรินทร? จันทราช
14. นางสาวดวงพร รัตนเจียมรังษี
กระบวนการจัดการความรู?
เหตุผลและที่มา (การบ?งชี้ความรู?)
ภาวะลิ้นติดเป?นภาวะที่ทีมที่ให?คําปรึกษาในการเลี้ยงลูกด?วยนมแม?มีความกังวลถึงผลต?อการเลี้ยงลูกด?วยนม
แม? เมื่อทบทวนถึงเกณฑ?การวินิจฉัยภาวะนี้พบว?ามีความหลากหลาย ซึ่งทําให?มีอุบัติการณ?ที่มีความแตกต?างกันตั้งแต?
ร?อยละ 1.7-10.7 ภาวะลิ้นติดในทารกแรกเกิดมีความสัมพันธ?กับการเลี้ยงลูกด?วยนมแม? ได?แก? การเจ็บเต?านม การ
เข?าเต?าไม?ดี น้ําหนักทารกขึ้นไม?ดี และ การหยดุนมแม?เร็ว ในป?จจุบันการคัดเลือกทารกที่ควรจะได?รับการผ?าตัดรักษา
จะใช?เกณฑก?ารวินิจฉัยภาวะลิ้นติด การทํางานของลิ้นร?วมกับการมีป?ญหาในการเลี้ยงลูกด?วยนมแม? โดยวัดคะแนนการ
เจ็บเต?านม คะแนนการเลี้ยงลูกด?วยนมแม? หรือ คะแนนการเข?าเต?า สําหรับการผ?าตัดรักษานิยมใช?การผ?าตัด
frenotomy หรือ frenulotomy ผลลัพธ?ของการรักษาได?ผลดีและไม?พบภาวะแทรกซ?อนที่รุนแรง
จากการเก็บข?อมูลการพบทารกแรกเกิดที่มีภาวะลิ้นติด ที่ตรวจพบในศูนย?อนามัยที่ 3 นครสวรรค? ป?งบ 58
(ต.ค.57-ก.ย.58) จํานวน 191 ราย คิดเป?นร?อยละ 11.7 ของทารกแรกเกิดทั้งหมด 1,631ราย
จากการวิเคาะห?ข?อมูลผลการประเมินภาวะลิ้นติดในทารกพบว?า เจ?าหน?าที่ในแผนกมีความรู?และทักษะการ
ประเมินระดับของภาวะลิ้นติดรวมถึงความรู?ความเข?าใจในการประเมินลักษณะหัวนมและลานนมมารดายังไม?ถูกต?อง
ซึ่งเคยพบอุบัติการณ?ที่การประเมินไม?ตรงกับผู?เชี่ยวชาญหรือกุมารแพทย?ร?อยละ 65 ดังนั้น ทางแผนกสูติ –นรีเวช
กรรม จึงเห็นความสําคัญในการพัฒนาศักยภาพเจ?าหน?าที่ในการประเมินทารกที่มีภาวะลิ้นติด เพื่อพัฒนาคุณภาพทีม
การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพต?อไป
สูตินรีเวชกรรม59.compressed.pdf |
ขนาดไฟล์ 381KB
ดาวน์โหลด 0 ครั้ง
|
ดาวน์โหลด
แจ้งไฟล์เสีย |