กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ
เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้ :
เนื่องกลุ่มงานเวชศาสตร์ชันสูตรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพได้ดาเนินการให้บริการการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทั้งจากหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก โดยมีปริมาณการตรวจวิเคราะห์เฉลี่ย 4,944 รายการต่อเดือน เมื่อนามาคิดแยกตามหัวข้อการลงผลทาให้มีปริมาณการลงผลการตรวจวิเคราะห์ 20,067 ครั้งต่อเดือน และปริมาณการลงผลการตรวจวิเคราะห์เฉลี่ย 1,003 ครั้งต่อวัน รายละเอียดตามตารางด้านล่าง อีกทั้งการ รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ต้องลงให้ทันระยะเวลาการรอคอยที่กาหนดทาให้มีโอกาสในการลงผลผิดพลาดสูง และยังเสียเวลาในการทวนสอบการลงผลซ้าอีกครั้ง โดยที่ผ่านมาทางกลุ่มงานเวชศาสตร์ได้รับแจ้งจากตึกผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกรวมถึงได้รับใบความเสี่ยงจากเรื่องการรายงานผลการตรวจล่าช้าการลงรายผลตรวจวิเคราะห์ผิดพลาดเช่น การลงรายงานผลตัวเลขคลาดเคลื่อน และการลงจานวนเลขผิด ในส่วนของการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์หน่วยงานภายนอก เช่น Hemoglobin Typing ,PCR, Triple marker มีปริมาณเฉลี่ย 500 ตัวอย่างตรวจต่อเดือน ยังใช้รูปแบบการรายงานผลด้วยลายมือเขียน และส่งผลการตรวจทางไปรษณีย์ ทาให้ผลการตรวจมีรูปแบบไม่สวยงาม อ่านยาก และระยะเวลาในการส่งผลทางไปรษณีย์ไปถึงหน่วยงานที่ส่งตรวจมีระยะเวลาหลายวัน บางครั้งมีการสูญหายของผล ดังนั้นทางกลุ่มงานเวชศาสตร์ชันสูตรจึงได้ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยมีศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาจากห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาลอื่นๆ และการหาแนวทางร่วมกันในการแก้ปัญหาของทางกลุ่มงานเอง โดยการนาระบบ LIS(laboratory information system) ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการลงรายงานผล และลดระยะเวลาการรอคอยผลการตรวจเพื่อเพิ่มความพึงพอใจต่อผู้รับบริการ
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวฐิรัศท์ชา รอดตัว 2. นายรัฐพล สวัสดิ์รักษา 3. นางสาวปุณชนิกา บุญเลิศ 4. นายพรธันย์ ชัชวาลธีราพงศ์ (5.นางสาวศิริขวัญ คล้ายแจ้ง
ความเป็นมา เหตุผล และความจาเป็น
เนื่องกลุ่มงานเวชศาสตร์ชันสูตรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพได้ดาเนินการให้บริการการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการทั้งจากหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอก โดยมีปริมาณการตรวจวิเคราะห์เฉลี่ย 4,944 รายการต่อเดือน เมื่อนามาคิดแยกตามหัวข้อการลงผลทาให้มีปริมาณการลงผลการตรวจวิเคราะห์ 20,067 ครั้งต่อเดือน และปริมาณการลงผลการตรวจวิเคราะห์เฉลี่ย 1,003 ครั้งต่อวัน รายละเอียดตามตารางด้านล่าง อีกทั้งการ รายงานผลการตรวจวิเคราะห์ต้องลงให้ทันระยะเวลาการรอคอยที่กาหนดทาให้มีโอกาสในการลงผลผิดพลาดสูง และยังเสียเวลาในการทวนสอบการลงผลซ้าอีกครั้ง โดยที่ผ่านมาทางกลุ่มงานเวชศาสตร์ได้รับแจ้งจากตึกผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกรวมถึงได้รับใบความเสี่ยงจากเรื่องการรายงานผลการตรวจล่าช้าการลงรายผลตรวจวิเคราะห์ผิดพลาดเช่น การลงรายงานผลตัวเลขคลาดเคลื่อน และการลงจานวนเลขผิด ในส่วนของการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์หน่วยงานภายนอก เช่น Hemoglobin Typing ,PCR, Triple marker มีปริมาณเฉลี่ย 500 ตัวอย่างตรวจต่อเดือน ยังใช้รูปแบบการรายงานผลด้วยลายมือเขียน และส่งผลการตรวจทางไปรษณีย์ ทาให้ผลการตรวจมีรูปแบบไม่สวยงาม อ่านยาก และระยะเวลาในการส่งผลทางไปรษณีย์ไปถึงหน่วยงานที่ส่งตรวจมีระยะเวลาหลายวัน บางครั้งมีการสูญหายของผล ดังนั้นทางกลุ่มงานเวชศาสตร์ชันสูตรจึงได้ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยมีศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาจากห้องปฏิบัติการในโรงพยาบาลอื่นๆ และการหาแนวทางร่วมกันในการแก้ปัญหาของทางกลุ่มงานเอง โดยการนาระบบ LIS (laboratory information system) ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการลงรายงานผล และลดระยะเวลาการรอคอยผลการตรวจเพื่อเพิ่มความพึงพอใจต่อผู้รับบริการ
การพัฒนาระบบการรายงานผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ.pdf |
ขนาดไฟล์ 580KB
ดาวน์โหลด 1 ครั้ง
|
ดาวน์โหลด
แจ้งไฟล์เสีย |