กรมอนามัย พร้อมให้ข้อมูลข่าวสารที่มีประโยชน์สำหรับคุณ
เหตุผลที่เลือกองค์ความรู้
เนื่องจากหญิงตั้งครรภ์ เป็นกลุ่มที่ควรได้รับการดูแลสุขภาพช่องปาก เป็นพิเศษ เพราะมีโอกาสเกิดโรคปริทันต์รุนแรงกว่าช่วงเวลาอื่น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน นอกจากนั้นสภาวะปริทันต์ของมารดายังมีผลต่อน้าหนักของทารกที่คลอด การทาความสะอาดช่องปากเป็นการควบคุมคราบจุลินทรีย์วิธีหนึ่ง ที่เรียกว่า mechanical plaque control ซึ่งการควบคุมคราบจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพสามารถลดการเกิดสภาวะฟันผุ และเหงือกอักเสบได้
ความเป็นมาและเหตุผลที่เลือกองค์ความรู้
จากการสารวจระดับประเทศ พบโรคปริทันต์ในวัยทางานสารวจในกลุ่มอายุ 35-44 ปี และสะท้อนความรุนแรงของการเกิดโรคปริทันต์ที่มากขึ้นแม้ว่าจานวนฟันในช่องปากจะคงเหลืออยู่ ณ วันที่สารวจมากขึ้นกว่าการสารวจที่ผ่านมาก็ตามกลุ่มวัยทางานร้อยละ 37.60 เป็นโรคปริทันต์ และพบการคงอยู่ของฟันในช่องปากของกลุ่มวัยทางานและผู้สูงอายุมีมากขึ้น จานวนผู้มีฟันใช้งานได้ 20 ซี่ในช่องปากของทั้ง 2 กลุ่มอายุ มีมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับการสารวจที่ผ่านมา กลุ่มอายุ 35-44 ปี ร้อยละ 96.20 เป็นผู้ที่มีฟันในช่องปาก 20 ซี่ขึ้นไป และนอกจากนี้กลุ่มวัยทางานในเขตภาคกลาง มีจานวนผู้มีคู่สบฟันหลังครบ 4 คู่ คิดเป็นร้อยละ 87.80 ซึ่งน้อยกว่า ภาพรวมระดับประเทศ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 93.54 (กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย, 2551)
การสารวจพื้นที่รับผิดชอบของสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 3 นครสวรรค์พบว่าสภาวะทันตสุขภาพของมารดาขณะตั้งครรภ์ในภาพรวมเขต พบโรคฟันผุ 48.1% โรคเหงือกอักเสบ 67.7% แต่ในนครสวรรค์พบโรคฟันผุ 57.4% โรคเหงือกอักเสบ 81.1% ซึ่งข้อมูลชี้บ่งว่า โรคฟันผุ และ โรคเหงือกอักเสบ เป็นอีกหนึ่งปัญหาที่ต้องให้ความสาคัญ เมื่อเปรียบเทียบกับภาพรวมเขต(สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 3และศูนย์อนามัยที่ 8, 2552)
จากข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 8 พบว่าจานวนคนไข้หญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 จานวน 2,380 คน 2,145 คน และ 2,540 คน ตามลาดับ ซึ่งเป็นกลุ่มผู้รับบริการหลักที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ อีกกลุ่มหนึ่ง และจากการรวบรวมข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ระหว่างช่วง 12-20 สัปดาห์ ที่เข้าร่วมโครงการของกลุ่มงานส่งเสริมทันตสุขภาพ ในปี 2552-2553 จานวน 244 คน พบว่า caries
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
ทญ.จันจิรา วันแต่ง, ทพ.ก้องเกียรติ เติมเกษมศานต์, ทญ.รุจิดา ธีระรังสิกุล, ทญ.ปวีณา ฉัตรกุล ณ อยุธยา และ ทญ.วรรณวิสา จิโรจนนุกุล
การควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ในหญิงตั้งครรภ์.pdf |
ขนาดไฟล์ 499KB
ดาวน์โหลด 0 ครั้ง
|
ดาวน์โหลด
แจ้งไฟล์เสีย |